แผนที่เมืองโบราณ
สุวรรณภูมิ เป็นชื่อเรียกดินแดนที่มีการกล่าวถึงในคัมภีร์โบราณหลายฉบับในทางพระพุทธศาสนา โดยคำว่าสุวรรณภูมินั้นความหมายว่าแผ่นดินทอง ดินแดนสุวรรณภูมิจึงแปลว่าดินแดนแห่งทองคำ ดินแดนที่มีความอุดมสมบูรณ์ ปรากฏในคัมภีร์ของพระพุทธศาสนาทั้งในมหาชนกชาดก กล่าวถึงพระมหาชนกเดินทางมาค้าขายที่สุวรรณภูมิ แต่เรือแตกกลางทะเล เเละในสมัยสังคายนาครั้งที่ 3 ราว พ.ศ. 234 พระเจ้าอโศกมหาราชได้ส่งพระธรรมทูตมาเผยแผ่พุทธศาสนาที่สุวรรณภูมิ โดยมีพระโสณะเถระและพระอุตตรเถระเป็นประธาน เมื่อท่านมาถึงได้ปราบผีเสื้อสมุทรที่ชอบเบียดเบียนชาวสุวรรณภูมิ ทำให้ชาวสุวรรณภูมิเลื่อมใส จากนั้นท่านได้แสดงพรหมชาลสูตร สุวรรณภูมิ เป็นดินแดนผืนใหญ่เเละมีทรัพยากรอุดมสมบูรณ์ เเละทางเมืองโบราณได้นำคุณลักษณะนี้ของสุวรรณภูมิมาเป็นพื้นที่ที่ตั้งของสถาปัตยกรรมอันสามารถเเสดงถึงความรุ่งเรืองของประเทศไทยตั้งเเต่โบราณ ตามที่มหาชนกชาดกได้กล่าวไว้อย่างเหมาะสม
เรียงตามรายชื่อ
- พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรปางแสดงปาฏิหาริย์ (106)
- สวนพฤกษชาติในวรรณคดีไทย (109)
- เสาชิงช้าและโบสถ์พราหมณ์ (101)
- มณฑปพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร (เจ้าแม่กวนอิม) (105)
- มณฑปพระสี่ทิศ (116)
- ศาลาระลึกชาติ (112)
- ศาลาพระอรหันต์ (110)
- มณฑปเทพบิดร (108)
- ศาลา ๒๔ กตัญญู (114)
- ศาลาขงเบ้ง (115)
- ศาลาฤษีดัดตน (103)
- ศาลารามเกียรติ์ (107)
- ศาลาทศชาติ (100)
- เขาพระสุเมรุ (102)
- เรือสำเภาไทย (113)
- ศาลาหลบแดดหลบฝน (117)
- สะพานรุ้ง (111)
- ขบวนเสด็จพยุหยาตราทางชลมารค (104)